อาหมัด รีซา ฌาลาลี เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.
Ахмадреза Джалалі або Ахмад Реза Джалалі (нар. 15 вересня 1971 р.) — ірано-шведський лікар медицини катастроф, викладач і науковий співробітник.


2514) เป็นอาจารย์แพทย์และนักวิจัยด้านภัยพิบัติชาวสวีดิช-อิหร่าน เขาถูกกล่าวหาว่าเป็นสายลับสืบความให้รัฐบาล อิสราเอล และต้องโทษประหารชีวิต[1] ฌาลาลีเคยทำงานในมหาวิทยาลัยในยุโรปหลายแห่ง อาทิเช่น สถาบันแคโรลินสกา ประเทศสวีเดน ซึ่งเขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่นั่น มหาวิทยาลัยเสรีแห่งบรัสเซลล์ ประเทศเบลเยียม มหาวิทยาลัยปิเอดมนเต้ โอเรียนตาเล่ ประเทศอิตาลี เขายังร่วมงานกับมหาวิทยาลัยในอิหร่านและติดต่อประสานงานกับมหาวิทยาลัยทั่วโลกรวมถึงอิสราเอลซา อุดิอาระเบีย และสหรัฐอเมริกา ด้วย[2]
Його звинуватили у шпигунстві та співпраці з Ізраїлем та засудили до смертної кари. [1] Він працював у кількох університетах Європи, серед яких університет Каролінської Швеції, де він також отримав докторську ступінь, Università degli Studi del Piemonte Orientale (Італія), Vrije Universiteit Brussel (Бельгія). Він також співпрацював з університетами в Ірані і підтримує зв'язки з університетами по всьому світу, в тому числі в Ізраїлі, Саудівській Аравії та США.

ในเดือนพฤศจิกายน 2560 คณะทำงานของสหประชาชาติว่าด้วยการควบคุมตัวโดยพลการ (UN Working Group on Arbitration Detention) ได้เรียกร้องอย่างเป็นทางการต่อรัฐบาลอิหร่านให้ชี้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการจับกุม แต่ทางการอิหร่านไม่ให้คำตอบ[1] เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติเรียกร้องให้อิหร่านยกเลิกการประหารชีวิตฌาลาลีอย่างเร่งด่วน[2]
У листопаді 2017 року Робоча група ООН з питань безпідставного затримання офіційно попросила уряд Ірану надати детальну інформацію про його затримання, але на жаль не отримала відповіді [3] . 9 лютого 2018 року експерти ООН з прав людини терміново закликали Іран скасувати смертний вирок проти Ахмадреза Джалалі. [7]

ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐบาลอิหร่านให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตแก่ฌาลาลีในปี 2560 อุทธรณ์นี้ได้รับการสนับสนุนโดย นาย โฆเซ่ อันโตนิโอ เกวารา แบร์มูเดส (José Antonio Guevara Bermúdez) โฆษกคณะทำงานสหประชาชาติว่าด้วยการควบคุมตัวโดยพลการ นาย นิลส์ เมลเซอร์ (Nils Melzer) ผู้รายงานพิเศษเรื่องการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรี (Special Rapporteur on torture and other cruel, inhuman or degrading treatment or punishment) นางสาว อังเญส คาลามาร์ (Agnes Kallamar) ผู้แทนรายงานพิเศษด้านการสังหารนอกกระบวนการกฎหมาย การสังหารอย่างรวบรัด หรือ โดยพลการ และ นางอัสมา ญาฮางีร์ (Asma Jahagir) ผู้แทนรายงานพิเศษด้านสิทธิมนุษยชนในสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน[1] [3]
Експерти ООН з прав людини звернулися до Ірану з проханням скасувати смертний вирок проти Джалалі протягом 2017 року. Експертами були пан Хосе Антоніо Гевара Бермудес, голова-доповідач Робочої групи з питань безпідставного затримання; П. Нілс Мелцер, спеціальний доповідач з питань тортур та інших жорстоких, нелюдських чи принизливих поводжень або покарань; Пані Агнес Калламар, спеціальний доповідач щодо позасудових або довільних страт; та пані Асма Джахангір, Спеціальний доповідач з питань прав людини в Ісламській Республіці Іран .

สหประชาชาติได้ถือเอาข้อสรุป หมายเลข 92/2017[1] เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2560 คณะทำงานได้ยื่นคำแถลงต่อรัฐบาลอิหร่าน แต่ไม่ได้การตอบรับ เอกสารฉบับนี้ได้อธิบายว่าเหตุใดการจำคุกของ ฌาลาลี จึงขัดกับมาตรา 3, 5, 8, 9, 10 และ 11 ของ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และมาตรา 7, 9, 10 และ 14 ของ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง "สิทธิทางการเมือง" ซึ่งระบุอย่างชัดเจนว่าการปล่อยตัวฌาลาลี ในทันทีและชดเชยค่าเสียหาย ตามกฎหมายระหว่างประเทศ เป็นสิ่งอันพึงกระทำ[2]
Вони прийняли висновок № 92/2017 [8] . 18 вересня 2017 року Робоча група передала заяви уряду в рамках своєї регулярної процедури повідомлень, але не отримала відповіді від уряду Ірану. Цей документ пояснює, чому позбавлення волі Ахмадреза Джалалі суперечить статтям 3, 5, 8, 9, 10 та 11 Загальної декларації прав людини та статтям 7, 9, 10 та 14 Міжнародного пакту про громадянські права "Політичні права", і в ньому чітко зазначено, що відповідним засобом захисту було б негайно звільнити пана Джалалі та надати йому право на компенсацію та інші компенсації відповідно до міжнародного права.

ปี 2561 ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติย้ำถึงความจำเป็นเร่งด่วนของคดีฌาลาลี[1]
Експерти ООН з прав людини повторили свій терміновий заклик у 2018 році [10] .

ปี 2563 รายงานประจำปีของสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และรายงานของสำนักงานข้าหลวงใหญ่และเลขาธิการสหประชาชาติระบุถึง "ความกังวลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับสถานการณ์ของชาวต่างชาติที่ยังคงถูกจำคุกในอิหร่าน [... ] อาหมัด รีซา ฌาลาลี ซึ่งถูกตัดสินประหารชีวิตเมื่อเดือนตุลาคม 2560 ในข้อหาจารกรรมข้อมูล ถูกย้ายไปยังสถานที่ที่ไม่ได้มีการเปิดเผยในวันที่ 29 กรกฎาคม 2562 ประมาณ 10 วันก่อนที่เขาจะถูกคุมตัวกลับไปที่เรือนจำเอวิน ในช่วงเวลาดังกล่าว เขาถูกบังคับให้สารภาพเพิ่มเติม ฌาลาลเช่นเดียวกับชาวต่างชาติคนอื่น ๆ รวมถึงนายการ์ดิริ (Ghadiri) ถูกปฏิเสธการเข้าถึงการรักษา ทั้งๆที่บุคคลดังกล่าวมีสุขภาพที่ทรุดโทรม"[1]
У щорічному звіті Верховного комісара ООН з прав людини до 2020 року та доповідях Управління Верховного комісара та Генерального секретаря зазначається, що "існують постійні занепокоєння щодо становища іноземних громадян, які залишаються у в'язниці в Ірані [. . . ]. Громадянин Ірану-Швеції Ахмадреза Джалалі, засуджений до смертної кари в жовтні 2017 року за обвинуваченням у шпигунстві, 29 липня 2019 року був переведений у невідоме місце приблизно на 10 днів до повернення до в'язниці Евіна. За цей час на нього чинили тиск, щоб добути подальші звинувачення.

รายงานของผู้รายงานพิเศษเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านในปี 2563 ย้ำว่า "เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและหน่วยข่าวกรองรวมถึงกระทรวงข่าวกรองและกองกำลังรักษาความปลอดภัยคณะปฏิวัติอิสลามในหลายกรณี ได้ปฏิเสธการเข้าถึงการรักษา และบริการสาธารณสุข ของผู้ต้องขังในเรือนจำ จนกว่าผู้ต้องหาจะสารภาพ นอกจากนี้ผู้รายงานพิเศษมีความกังวลเกี่ยวกับการบังคับให้ผู้ต้องหาสารภาพตามสื่อสาธารณะ มีรายงานว่า ฌาลาลี ถูกบังคับให้สารภาพภายใต้การข่มขู่จากผู้ถูกสอบสวน นอกจากนี้ยังกล่าวว่า ฌาลาลี จะได้รับการปล่อยตัวจากการถูกขังเดี่ยวถ้าเขาสารภาพเช่นนั้น[1]
Підкреслюється, що "службовці безпеки та розвідки, включаючи Міністерство розвідки та Корпус ісламської революційної гвардії, у багатьох випадках перешкоджали доступу медичної допомоги затриманим та ув'язненим ". Крім того, Спеціальний доповідач стурбований практикою оприлюднення примусового зізнання: "Ахмадреза Джалалі, шведсько-іранський академік, зробив зізнання у шпигунстві, яка транслювалася на Державному телебаченні в грудні 2017 року, через п'ять днів Верховний Суд підтримав його смертний вирок шляхом поспішно скликаного та секретного процесу, під час якого не було дозволено жодних заяв захисту " . Повідомляється, що пан Джалалі зробив визнання під примусом після того, як його допитувачі сказали, що його звільнять з одиночної камери лише в тому випадку, якщо він зробе подібне зізнання.

ในเดือนธันวาคม 2561 ผู้ได้รับรางวัลโนเบล 121 คน ได้เขียนจดหมายเปิดผนึกถึงผู้นำสูงสุดของอิหร่านคือ อะญาโตลาฮ์ แอลี ฆอเมเนอี (Ayatollah Ali Khamenei) เรียกร้องให้ ฌาลาลี เข้าถึงการรักษาพยาบาลและขอให้ปล่อยตัวเขาในทันที[1]
У грудні 2018 року 121 лауреатів Нобелівської премії написали відкритий лист до Верховного лідера Ірану аятоли Алі Хаменеї про надання медичної допомоги професору Джалалі та просили звільнити його. [13]

แอมเนสตี้อินเตอร์เนชั่นแนล ได้ติดตามและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่และสุขภาพของ ฌาลาลี อย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะอย่างการประติบัติอย่างไร้มนุษยธรรมที่มีต่อ ฌาลาลี ระหว่างการคุมขัง[1]
Amnesty International уважно стежить і збирає інформацію про умови життя та стан здоров'я Джалалі, особливо про нелюдські умови, яких Джалалі зазнав під час ув'язнення. [14]

ตั้งแต่ปี 2560 แอมเนสตี้อินเตอร์เนชั่นแนลได้เปิดตัวแคมเปญสนับสนุนให้สาธารณชนเขียนคำร้องไปยังผู้นำสูงสุดของอิหร่านประธานาธิบดีอิหร่านและหัวหน้าผู้พิพากษาอิหร่าน เรียกร้องให้มีการช่วยเหลือ การรักษาความปลอดภัย การเข้าถึงทนายความและครอบครัว รวมถึงอนุญาตให้สถานกงสุลสวีเดนเข้าพบ ฌาลาลี[1]
Починаючи з 2017 року, Amnesty International розпочала кампанію, щоб заохотити громадські організації писати петиції та відсилати їх Верховному лідерові Ірану президенту Ірану та головному судді Ірану (голові судової влади) з проханням негайно звільнити Джалалі і забезпечити йому безпеку та надати доступ до адвоката та родини, включаючи консульство Швеції для зустрічі з ним. [15]

แคมเปญ โนรุส (Noruz) 2020 เป็นแคมเปญเพื่อสนับสนุนนักโทษทางความคิด (Prisoners of Conscience)ในอิหร่านเนื่องในเทศกาลวันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของอิหร่าน แอมเนสตี้สนับสนุนให้สาธารณชนส่งข้อความและกำลังใจให้กับผู้ต้องหาและครอบครัวของผู้ต้องหา ในปีนี้แอมเนสตี้อินเตอร์เนชันแนลได้คัดเลือกผู้ต้องโทษทางการเมืองและนักโทษทางความคิด เจ็ดคน รวมถึง ฌาลาลีเพื่อแสดงถึงแคมเปญของแอมเนสตี้ในเทศกาลโนรุส[1]
Акція Норуза 2020 - це кампанія з підтримки в'язнів совісті в Ірані з нагоди традиційного іранського фестивалю в новому році. Амністія заохочує громадські організації надсилати в'язням та їхнім сім’ям листи підтримки. Цього року Міжнародна Амністія обрала сім справ політичних в’язнів та в’язнів-академіків, серед яких була й справа Джалалі, для представлення кампанії "Амнесті" на Норузі.

เครือข่ายสกอลาร์ แอท ริสก์ (SAR)
Scholars at Risk (SAR)

สกอลาร์ แอท ริสก์ (Scholars at Risk) เป็นเครือข่ายระหว่างประเทศ ประกอบด้วยองค์กร สถาบันและปัจเจกบุคคลที่ส่งเสริมเสรีภาพทางวิชาการและปกป้องนักวิชาการจากภัยคุกคามต่อเสรีภาพทางวิชาการ[1] SAR มีส่วนร่วมและสนับสนุน ฌาลาลี โดยการออกจดหมายถึงหน่วยงานรัฐบาลในอิหร่าน และดำเนินกิจกรรแคมเปญมออนไลน์ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ก ในเดือนมกราคม 2561 สกอลาร์ แอท ริสก์ ได้เผยแพร่แคมเปญ "#SaveAhmad" ผ่านโซเชียลมีเดีย เพื่อสร้างแรงกดดันต่อหน่วยงานภาครัฐเพื่อสนับสนุนการปล่อยตัว ฌาลาลี[2] ในเดือนมีนาคม 2563 ภายใต้การระบาดของ COVID-19 SAR ได้ส่ง จดหมายไปยังเจ้าหน้าที่ของอิหร่านให้ปล่อยตัว ฌาลาลีโดยไม่มีเงื่อนไข[3]
SAR залучає та проводить громадські кампанії на підтримку доктора Джалалі, наприклад, випускаючи листи до державних органів влади в Ірані та проводячи онлайн-діяльність через соціальні мережі. У січні 2018 року SAR опублікував кампанію "#SaveAhmad" через соціальні медіа, щоб чинити тиск на державні установи для підтримки звільнення доктора Джалалі [18] . У березні 2020 року, у відповідь на пандемію COVID-19, SAR відправив листа до влади Ірана про беззастережне звільнення доктора Джалалі через стан здоров'я [19] .

ในเดือนพฤศจิกายน 2560 สหภาพมหาวิทยาลัยในยุโรป (EUA) ได้กดดันเจ้าหน้าที่ทางการอิหร่านให้ยกเลิกคำตัดสินในคดี ฌาลาลี และเรียกร้องให้มีการปล่อยตัวในทันที[1] EUA เขียนจดหมายถึงผู้นำสูงสุดของอิหร่านและแสดงความกังวลอย่างจริงจังเกี่ยวกับความปลอดภัยของฌาลาลีและครอบครัวของเขา[2]
У листопаді 2017 року Європейська асоціація університетів (EUA) чинила тиск на владу Ірану для скасування виправного вироку Джалалі та негайного звільнення Джалалі [20] . EUA написав лист до Верховного лідера Ірану та висловив серйозну стурбованість щодо постійної шкоди Джалалі та його сім'ї. [21]

ในเดือนเมษายน 2018 สภามหาวิทยาลัยเฟลมมิช (VLIR) ได้ตัดสินใจที่จะระงับความร่วมมือทางวิชาการทั้งหมดกับมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาของอิหร่าน เพื่อตอบโต้รัฐบาลอิหร่านในการจำคุกและดำเนินคดีของ ฌาลาลี ซึ่งเคยดำรงตำแหน่ง อาจารย์ ในมหาวิทยาลัยเสรีแห่งบรัสเซลส์ สภามหาวิทยาลัยเป็นกังวลอย่างมากต่อการจับกุมฌาลาลี และขอให้เจ้าหน้าที่อิหร่านให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์แก่เขา สภามหาวิทยาลัยได้กล่าวต่อว่าความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในเนเธอร์แลนด์กับสถาบันการศึกษาของอิหร่านจะไม่ดำเนินต่อ จนกว่ารัฐบาลอิหร่านจะดำเนินการใดๆ เพื่อสนับสนุนฌาลาลี[1]
У квітні 2018 року Фламандська університетська рада (VLIR) прийняла рішення про перенесення всієї академічної співпраці з іранськими університетами та установами у відповідь на рішення влади Ірану про ув'язнення та винесення смертного вироку щодо доктора Джалалі, одного з професорів Брюссельського вільного університету . З цього приводу Рада висловила глибоку стурбованість ув'язненням професора і попросила іранські органи надати йому медичну допомогу. Рада університету заявила, що співпраця фламандських університетів з іранськими установами не буде продовжена, якщо уряд Ірану не вжиє жодних дій на підтримку доктора Джалалі.

เมื่อวันที่ 31 ตุลาคมมหาวิทยาลัยปิเอดมอนเต้ มหาวิทยาลัยแคโรลินสกา และ มหาวิทยาลัยเสรีแห่งบรัสเซลส์ ได้ส่งจดหมายถึงประธานศาลยุติธรรมอิหร่าน ซาเดฮ์ ลาริฌานิ (Sadeh Larijani) ในจดหมายฉบับนี้มหาวิทยาลัยได้ระลึกถึงคุณความดีของของดร.ฌาลาลี และเน้นย้ำถึงสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น[1]
31 жовтня Університет П'ємонта, Каролінський університету і Брюссельський вільний університет направили листа голові судової системи Ірану, Садех Ларіджані, у якому просять звільнити доктора Джалалі. У листі університети нагадали про відмінну репутацію доктора Джалалі, нагадали про право на свободу вираження поглядів [23] .

ในเดือนเมษายน 2559 เมื่อเขาเดินทางไปอิหร่านตามคำเชิญของ มหาวิทยาลัยเตหะราน (Teharan University) และมหาวิทยาลัยชีราซ (Shiraz University) เขาถูกจับกุมโดยภายใต้คำสั่งของกระทรวงข่าวกรองและความมั่นคง โดยไม่มีหมายจับหรือเหตุใด ๆ ที่จะถูกจับกุม[1] สองสัปดาห์ต่อมาเขาถูกตั้งข้อหาว่าเป็นผู้สืบราชการลับและร่วมมือกับอิสราเอลจารกรรมข้อมูลราชการของรัฐบาลอิหร่าน โดยอ้างอิงหลักฐานจากจดหมายของภรรยา สิบวันภายหลังจากที่ถูกควบคุมตัว[2] ครอบครัวของเขาไม่ทราบข้อมูลและไม่ได้รับแจ้งที่อยู่ของ ณาลาลี แม้ว่าทางครอบครัวทราบแล้วว่า ฌาลาลี ถูกจับกุม หลังจากถูกคุมขังในสถานที่ที่ไม่เปิดเผยเป็นเวลา 7 วัน เขาถูกย้ายไปยังหน่วย 209 ของเรือนจำเอวิน (Evin Prison) ซึ่งเขาถูกกักตัวไว้เป็นเวลา 7 เดือน ฌาลาลีมีโอกาสติดต่อครอบครัว และได้แจ้งแก่ครอบครัวว่า เขาถูกจำคุกเดี่ยวเป็นเวลา 3 เดือน และจำคุกกึ่งเดี่ยวกึ่งหมู่ในเวลาถัดมา[1]
У квітні 2016 року, коли він відвідував Іран, за запрошенням Тегеранського університету та Університету Шираз, він був заарештований за наказом Міністерства розвідки та безпеки без ордеру чи будь-яких підстав для арешту [1] . Через два тижні він отримав обвинувачення у шпигунстві та співпраці з Ізраїлем, аргументом цього нібито є лист його дружини, який начебто містив докази. Його родині не повідомляли про його місце знаходження протягом десяти днів [2], хоча вони знали, що він був заарештований.

ความคืบหน้าของคดี
Хід справи

หลังจากการระบาดใหญ่ของ COVID-19 ในเดือนมีนาคม 2563 ทางการอิหร่านได้ปล่อยตัวนักโทษ 85,000 คน รวมถึงนักโทษการเมือง อย่างไรก็ตามไม่มีชื่อของ ฌาลาลี ปรากฏในรายการนี้[1][2][3]
Після широкого поширення пандемії COVID-19 у березні 2020 року влада Ірану звільнила 85 тисяч осіб із в'язниць, у тому числі політичних в'язнів [24] . Серед цього числа доктора Джалалі не було у списку [25] [26] .

คณะทำงานของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนว่าด้วยการควบคุมตัวโดยพลการแห่งสหประชาชาติ กล่าวย้ำถึงการปล่อยตัว ฌาลาลี อย่างเร่งด่วน[1] เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ สมาพันธ์สิทธิมนุษยชนอิตาลี (Federazione Italiana Diritti umani) องค์การสิทธิมนุษยชนอิหร่าน (Iran Human Rights), องค์การ ECPM (Hands of Cain) ได้ส่งจดหมายถึง ผู้แทนระดับสูงของสหภาพยุโรปว่าด้วยการต่างประเทศและความมั่นคง เฟเดริก้า โมเกรินี (Federica Mogherini) เพื่อขอให้ดำเนินการและกดดันให้มีการยุติโทษประหารในทันที[2] ในวันที่ 3 พฤษภาคม เครือข่ายสกอลาร์ แอท ริสก์ ได้เขียนจดหมายถึงผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านคือ อะญาโตลาฮ์ แอลี ฆอเมเนอี[3]
Робоча група Ради з прав людини з питань безпідставного затримання (ООН) повторила свій терміновий заклик до звільнення доктора Джалалі [27] 5 лютого ФІДУ (Federazione Italiana Diritti umani), Іранські права людини, ECPM - Ансамбль Contre la Peine de Mort та казино Nessuno tocchi (Hands off Caino) надіслали листа високому представнику Союзу із закордонних справ та політики безпеки Федеріці Могеріні, щоб попросити вжити термінових заходів та негайно припинити смертний вирок. [28] 3 травня мережа вчених з ризиком написала лист до Верховного лідера Ісламської Республіки Іран, аятолли Алі Хаменеї. [29]

ริเริ่มแคมเปญสนับสนุนดร. ฌาลาลี ที่เว็บไซด์ change.org ซึ่งมีผู้ลงชื่อสนับสนุนมากกว่า 320,000 คน รายชื่อได้ส่งไปยังทางการอิหร่านและอดีตประธานรัฐสภายุโรป อันโตนิโอ ทาญานี[1] ในวันที่ 31 ตุลาคม มหาวิทยาลัยปิเอดมอนเต้ โอเรียลตาเล สถาบันแคโรลินสกา และมหาวิทยาลัยเสรีแห่งบรัสเซลส์ ได้ส่งจดหมายถึงศาลยุติธรรมอิหร่าน ในจดหมายฉบับนี้มหาวิทยาลัยได้ระลึกถึงคุณความดีของดร. ฌาลาลี และเสรีภาพการแสดงความคิดเห็น[2] วันที่ 13 พฤศจิกายน สหภาพมหาวิทยาลัยในยุโรปได้ส่งจดหมายถึงผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน[3] คณะทำงานของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนว่าด้วยการควบคุมตัวโดยพลการ (UN) ได้นำความเห็นที่ 92/2017 มาประชุมในวันที่ 20-24 พฤศจิกายน คณะทำงานส่งต่อเรียกร้องหาไปยังรัฐบาลอิหร่านและขอให้รัฐบาลอิหร่านให้ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับดร. ฌาลาลี ภายในวันที่ 17 พฤศจิกายน แต่ไม่ได้รับการตอยรับแต่อย่างใด[4]
[30] 31 жовтня Університет П'ємонта, Каролінського університету і Вільного Університету Брюселля направили лист голові судової системи Ірану, аятолла Садех Ларіджані, в якому вимагають негайного звільнення доктора Джалалі. У листі університети нагадали про чудову репутацію доктора Джалалі та нагадали про право на свободу вираження поглядів. [31] 13 листопада Європейська асоціація університетів надіслала листа Верховному лідеру Ісламської Республіки Іран, аятоллі Алі Хаменеї [32] Робоча група Ради з прав людини з питань довільного затримання (ООН) прийняла висновок № 92/2017 на своїй вісімдесятій сесії 20–24 листопада.

แหล่งอ้างอิง
Примітки

คำตัดสิน
Вирок

ในวันที่ 31 มกราคม 2560 หลังจากถูกจำคุกเป็นเวลา 9 เดือน ฌาลาลี ถูกนำตัวไปที่ ศาลปฏิวัติอิสลาม (Islamic Revolutionary Court) ในกรุงเตหะราน ซึ่งเขาถูกตั้งข้อหาอย่างเป็นทางการว่าเป็นหน่วยสืบราชการลับให้ชาวต่างชาติ แม้จะไม่มีหลักฐานชี้ต่อความผิด ฌาลาลีต้องโทษประหาร มีรายงานว่าทนายของเขาถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าถึงการไต่สวนและถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าถึงข้อมูลคดี[1]
31 січня 2017 року, після дев'яти місяців ув'язнення, доктора Джалалі відвезли до відділення Революційного суду в Тегерані, де він був офіційно звинувачений у шпигунстві, незважаючи на відсутність доказів, було повідомлено, що йому загрожує смертна кара. Як повідомляється, його адвоката не пустили на слухання, і йому було відмовлено у доступі до матеріалів справи. [3]

หลังจากถูกจองจำอย่างอยุติธรรมเป็นเวลาหลายเดือน เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2560 เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในข้อหา "สร้างมลทินให้แก่โลก" (Corruption on Earth หรือ ifsad fil-arz)[1] [1] เขาถูกต้องขังอยู่ใน เรือนจำเอวิน ในเดือนพฤศจิกายน 2560 คณะทำงานของสหประชาชาติว่าด้วยการควบคุมตัวโดยพลการ (UN Working Group on Arbitration Detention) ขอให้รัฐบาลอิหร่านให้ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการควบคุมตัว ฌาลาลี แต่ไม่ได้รับการตอบรับ ในช่วงปลายปี 2561 โทรทัศน์ท้องถิ่นอิหร่านได้ออกอากาศ รายงานคดีของเขา โดยระบุว่าเขาเป็นผู้สืบราชการลับให้รัฐบาลต่างชาติและได้สารภาพกับรัฐบาลอิหร่าน ซึ่งตามจดหมายของ ฌาลาลี ที่ขียนไว้ล่วงหน้า เขากล่าวว่าเขาถูกบังคับให้อ่านคำรับสารภาพที่เตรียมโดยรัฐบาลอิหร่าน ภายใต้การข่มขู่ว่าจะทำร้ายคนในครอบครัว ทนายความส่วนตัวของเขาได้พยายามอุทธรณ์คำตัดสินแต่ก็ถูกปฏิเสธ[2]
У листопаді 2017 року Робоча група ООН з безпідставного затримання офіційно попросила іранський уряд надати детальну інформацію про його затримання, але на це не отримала відповіді. Наприкінці 2018 року іранське державне телебачення представило його як шпигуна і показало його зізнання, яке, за словами доктора Джалалі, було заздалегідь написане. Він був змушений його прочитати під примусом погроз смерті та завдання шкоди його близьким.

ในวันที่ 29 กรกฎาคม 2562 ฌาลาลี ถูกส่งตัวอีกครั้ง ไปยังที่ที่ไม่ได้มีการเปิดเผย เขาถูกทรมานอย่างทารุณและถูกข่มขู่โทษประหารประหาร ถ้าเขาไม่สารภาพออกมาอีก[1]
29 липня 2019 року доктора Джалалі знову перевезли з в'язниці Евіна до невідомого місця. Там його жорстоко катували та погрожували виконанням смертного вироку, щоб отримати від нього більше зізнань [1] .

ข้อมูลด้านสุขภาพ
Стан здоров’я

สุขภาพของ ฌาลาลี แย่ลงตั้งแต่ถูกจับกุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลตรวจเลือดในปี 2561 ที่ระบุว่า เขามีเม็ดเลือดขาวในระดับต่ำ ฌาลาลีได้รับการตรวจโดยแพทย์ในต้นปี 2562 ที่เรือนจำเอวินโดยเขาได้รับคำแนะนำให้ตรวจเพิ่มเติมโดยนักโลหิตวิทยาที่โรงพยาบาล แต่คำขอนี้ถูกปฏิเสธ นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า ฌาลาลี น้ำหนักลดลงกว่า 24 กิโลกรัมนับตั้งแต่ถูกจับกุม[1] สมาคมการแพทยสมาคมโลก ได้ยกเอาประเด็นของ ฌาลาลี ขึ้น เคตาน ดีไซ (Ketan Desai) ประธานแพทยสมาคมโลก ได้ระบุว่าการกระทำของเจ้าหน้าที่อิหร่านนั้นละเมิดหลักจริยธรรมทางการแพทย์และสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน[2]
З моменту арешту стан здоров'я доктора Джалалі погіршувався. Зокрема, аналізи крові, проведені у 2018 році, показали низький рівень лейкоцитів. Згодом його оглянув лікар на початку 2019 року у в'язниці Евіна; його рекомендували переглядати фахівці з гематології в лікарні, але в цьому запиті було відмовлено.