วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล[1] (ชื่อเล่น: พิช) เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงเป็น “มิว” ตัวละครเอกของภาพยนตร์ไทยเรื่อง “รักแห่งสยาม” (2550) และการเป็นนักร้องนำวงออกัส
Witwisit Hiranyawongkul [1] (palayaw: pchy) Bilang isang aktor at isang mang-aawit ng ang Thai pinaka sikat na mula sa palabas na "mga kaibigan" karakter "ng pelikulang Thai kuwento "pag-ibig ng" na" (2550) At bilang isang lead ng agosto.


ผลิตโชค อายนบุตร (เป๊ก) เกิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.
Katawan. 2527 ng isang pag-awit ang mga Thai 's ang edad. 6. mayroon kang upang ilipat upang gumana sa mga bansa sa Australia, kaya inilipat ang buong pamilya ay nag-aral sa paaralan Cabramatta Pampublikong Paaralan. sa Sydney.

2527 เป็นนักร้องชาวไทย อายุประมาณ 6 ขวบ คุณพ่อต้องย้ายไปทำงานที่ประเทศออสเตรเลียจึงย้ายไปทั้งครอบครัว ได้ศึกษาที่โรงเรียน Cabramatta Public School ในซิดนีย์[1] ศึกษาระดับอนุบาลและประถมที่โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก และยังได้เป็นตัวแทนรำมังคละของโรงเรียนอีกด้วย ระดับมัธยมที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า (ต.อ.น.) และ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า สาย ศิลป์ - ภาษา ( อังกฤษ -ฝรั่งเศส) และระดับอุดมศึกษาที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชาดุริยางคศาสตร์สากล (Major Voice)[2]
[1] na antas ng Edukasyon sa kindergarten at ang mga kotse sa preschool. lason, pag-save ng mundo, at pa rin ay kumakatawan sa laban na ito. ang. ng. eskwelahan. muli na may isang mataas na paaralan sa prep school sa Hilaga, nag-aral sa mapoot ko ang paglilinis (kaya...) At sa paaralan... miss. Queen ko direksyon handa arm, nag-aral sa mapoot ko ang paglilinis ng mga linya ng sining - wika ( ingles -pranses) At antas ng North-aral sa Unibersidad ng Sri. ang isang tunay na saykiko ay sa. ang bilang sining. science class trip sa agham.

พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล, หุ่น ฮุนตระกูล - ในเอกสารบางแหล่ง เขียนว่า พระยาศรีวิศาลวาจา) (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.
Phraya Sivisanvaja (Hun Huntagon) ay ministro ng pananalapi ng Thailand.[4]

แนบ พหลโยธิน อดีตนักการเมืองและหนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
Nap Phahonyothin ay politica ng Siam. Siya ay kinatawan committee.

แนบ พหลโยธิน
Nap Phahonyothin

มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) (24 มิถุนายน พ.ศ.
Sathan Sanitwong (24 มิถุนายน พ.ศ.

2483) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ (พ.ศ.
2483) ay ministro ng agrikultura ng Thailand.

2452 – 2455) และกระทรวงคมนาคม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว องคมนตรีในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระอัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เคยเป็นข้าหลวงใหญ่ปักปันเขตแดนบริเวณตอนเหนือของสยามกับหลวงพระบางในแคว้นอินโดจีนของฝรั่งเศส ระหว่าง พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2450 [2]
(1909 – 1912)

อ้างอิง
Sanggunian

ศาสตราจารย์วิสามัญ พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ.
Plot Wichean Na Songkha (18 กันยายน พ.ศ.

2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง[1]
2527) dating mga regent sa panahon ni Haring Rama 9 para sa 15 taon.

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย[2] อดีตประธานองคมนตรี[3] อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี [4][5] และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์
Dech Sanitwong (18 February 1898 - 8 September 1975), dating Gobernador ng Bank ng Taylandiya[3] [5]

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ.
Jit Na Songkha (1885 - 1976) ay ministro ng pananalapi ng Thailand.

รองอำมาตย์เอก หลวงอรรถกิติกำจร (อรรถกิจ พนมยงค์) หรือนามเดิม กลึง พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย คนที่ 12[1][2] สมาชิกคณะราษฎร และอัครราชทูตไทยประจำกรุงสตอกโฮล์ม[3]
Utthakij Banomyong o Laung Utthakitigumjorn o Kling Banomyong ay isang Politikano ng Thailand.

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี มีนามเดิมว่า บุญช่วย วณิกกุล (15 มิถุนายน พ.ศ. 2432 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีกา
Bunchuy Vanikkul o Phrayathepvitunpahulsarutbodi ay isang Politikano ng Thailand.

พระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
Tom Bunnak o Phraya Abhibalrajamaitree ay isang Politikano ng Thailand.

พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย
Chit Sunthornvon o ay isang Politikano ng Thailand.

พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
Chit Sunthornvon

สมัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ[1]; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478—24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น
Samak Sundaravej ay naglingkod bilang punong ministro ng Thailand.

มหาอำมาตย์เอก พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) (16 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
Chuen Gomarnkul Na-Nakorn o ay isang Politikano ng Thailand.

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)
Chuen Gomarnkul Na-Nakorn

มหาอำมาตย์เอก พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เป็นบุตรพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) มารดาชื่อ ศิลา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2405 เป็นสามัญชนคนแรกที่ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และลงนามในธนบัตร มีผลงานด้านการเงินการคลังที่สำคัญ เช่น การเปลี่ยนแปลงระบบเงินตรา การใช้สตางค์แทนอัฐ การเสนอแนวคิดให้ตั้งธนาคารชาติ และการปฏิรูประบบภาษีโดยให้รัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการเอง นอกจากนั้นยังประพันธ์ตำราเศรษฐศาสตร์เรื่องทรัพยศาสตร์ และปัจจุบันยังเป็นหนังสือที่ได้รับคัดเลือกว่าเป็นหนึ่งใน 100 เล่มหนังสือดีที่คนไทยควรอ่าน[1] ด้วยเหตุผลว่า “เป็นหนังสือที่นอกจากจะให้ความรู้เรื่องหลักเศรษฐศาสตร์แล้ว ยังให้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยและทัศนะที่คนไทยยุคก่อนมองปัญหาเศรษฐกิจไทย รวมทั้งถือเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของคนไทย”
Kerd Bunnak o ay isang Politikano ng Thailand.

พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
Kerd Bunnak

อำมาตย์ตรี หลวงสิริราชไมตรี อดีตอัครราชทูตไทยประจำกรุงโรม ประเทศอิตาลี และสมาชิกคณะราษฎร
Jaroon Singhaseni o ay isang Politikano ng Thailand.

หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)
Jaroon Singhaseni

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา; 31 มีนาคม พ.ศ. 2405 - 26 มกราคม พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง
Yen Isarasena o ay isang Politikano ng Thailand.

อำมาตย์เอก พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์) อดีตรัฐมนตรีที่ไม่ได้ประจำกระทรวง (รัฐมนตรีลอย) 3 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 1 สมัย
Tui Binabdullah o ay isang Politikano ng Thailand.

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 - ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ[1] อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ[2]อดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ[3] และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
Pridiyathorn Devakula ay isang Politikano ng Thailand.

จอมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) บิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน
Phin Choonhavan ay isang Politikano ng Thailand.

ผิน ชุณหะวัณ
Phin Choonhavan

พลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี พ.ศ. 2491-พ.ศ. 2492[1] และอดีตอธิบดีกรมศุลกากร พ.ศ.
Kaj Kajsongkram ay isang Politikano ng Thailand.

หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)
Kaj Kajsongkram

พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา จีน: 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด[1]) เป็นนักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
Luang Wichitwathakan ay isang Politikano ng Thailand.

2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ พ.ศ. 2494 - 2500 เจ้าของคำขวัญ "ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ ไม่มีสิ่งใดที่ตำรวจไทยทำไม่ได้ ในทางที่ไม่ขัดต่อศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามและกฎหมายบ้านเมือง" เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาททางการเมืองสูงมากในช่วงก่อนการรัฐประหาร พ.ศ.
Phao Sriyanond ay isang Politikano ng Thailand.

จตุพร พรหมพันธุ์ (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย
Jatuporn Prompan o ay isang Politikano ng Thailand.

กรภัทร์ เกิดพันธุ์ ชื่อเล่น นนน (อ่านว่า "นะ-นน") เป็นนักแสดงชายชาวไทย เป็นที่รู้จักจากซีรีส์เรื่อง "รุ่นพี่ Secret Love" โดยแสดงคู่กับ "ต้าเหนิง-กัญญาวีร์ สองเมือง "[1][2]
Korapat Kerdpan ay isang aktor sa bansang Thailand.

ชวิน ลิขิตเจริญพงษ์ (ชื่อเล่น: เฟม) เป็นนักแสดงเด็กที่มีชื่อเสียงจากเรื่อง บ้านฉัน..ตลกไว้ก่อน (พ่อสอนไว้) เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)[1]
Chavin Likitcharoenbongse (Mayo 17) ay isang aktor sa bansang Thailand.

ชวิน ลิขิตเจริญพงษ์
Chavin Likitcharoenbongse

ณัฐวัฒน์ ชัยณรงค์โสภณ (ชื่อเล่น: กันต์) เป็นนักแสดงชาย ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2541 ปัจจุบัน(พ.ศ. 2557)กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา เป็นที่รู้จักจากการรับบท "พาทิน" (วัยเด็ก) จากซีรีส์ “รักนี้ชั่วนิจนิรันดร์” (Autumn In My Heart เวอร์ชันไทย) ฉายทางช่อง True Asian Series เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.
Nutthawat Chainarongsophon (Enero 17) ay isang aktor sa bansang Thailand.

ณัฐวัฒน์ ชัยณรงค์โสภณ
Nutthawat Chainarongsophon

ก้องเกียรติ โขมศิริ (ชื่อเล่น: โขม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2518[1] เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบทภาพยนตร์ และในบางครั้งยังเป็นนักแสดง สำเร็จการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ทำงานเบื้องหลังวงการภาพยนตร์ โดยเป็นคนเขียนบทภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ เช่น บางระจัน , ขุนแผน , 7 ประจัญบาน ภาค 1 และ 2 , ขุนศึก , คนเล่นของ ยังร่วมกำกับและเขียนบท องค์บาก อีกด้วย จนสร้างชื่อกับการเป็นทีมกำกับและเขียนบทใน ลองของ[2]
Kongkiat Khomsiri (Hunyo 17) ay isang aktor sa bansang Thailand.

กัญญาวีร์ สองเมือง (เกิด 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2539) ชื่อเล่น ต้าเหนิง เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย มีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากละครซีรีส์"ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น" มีพี่ชายนึ่งคนชื่อ"ต้าหนิน"
Kanyawee Songmaung (hulyo 21 1996) ay isang artista sa bansang Thailand.

เสวกตรี หลวงนฤเบศร์มานิต (สงวน จูฑะเตมีย์) เกิดปี พ.ศ. 2432[1][2] เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน และเป็นรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง ถึง 3 สมัย ตั้งแต่ คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 - 6 โดยมีนายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี
Sangan Juthatemee ay naglingkod bilang ministro ng Thailand.

หลวงนฤเบศร์มานิต (สงวน จูฑะเตมีย์)
Sangan Juthatemee

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) อดีตรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตสมาชิกวุฒิสภา
Prayoon Itsarasak ay ministro ng Thailand.

พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)
Prayoon Itsarasak

2435 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516) เป็น 1 ใน 4 ทหารเสือที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นผู้ที่วางแผนการยึดอำนาจทั้งหมด เป็นผู้ได้รับการสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ไม่ได้เป็น และถูกกล่าวหาว่าคิดก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในกบฏพระยาทรงสุรเดช ถูกเนรเทศไปอยู่ในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา และเมื่อพ.ศ2500จึงเดินทางกลับประเทศ และพำนักที่จ.สุรินทร์กับคุณหญิงทรงสุรเดช(ห่วง ทรงสุเดช)จนเสียชีวิตเมื่อพ.ศ2516ในวัย80ปีนับเป็นทหารที่มีอายุยืนยาวที่สุดใน4คน
Deva Bandhumsena ay ministro ng Thailand.

พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)
Deva Bandhumsena

พลเรือตรีพระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) เป็นคณะกรรมการราษฎร รัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารเรือ
Wan Jarupha ay ministro ng Thailand.