Sékulu XXV « Sékulu XXVI » Sékulu XXVII 2553 « 2554 « 2555 « 2556 » 2557 » 2558 » 2559
ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559


Sékulu XXV « Sékulu XXVI » Sékulu XXVII 2554 « 2555 « 2556 « 2557 » 2558 » 2559 » 2560
ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560

2014
พ.ศ. 2557

Sékulu XXV « Sékulu XXVI » Sékulu XXVII 2555 « 2556 « 2557 « 2558 » 2559 » 2560 » 2561
ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561

Sékulu XXV « Sékulu XXVI » Sékulu XXVII 2556 « 2557 « 2558 « 2559 » 2560 » 2561 » 2562
ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

Sékulu XXV « Sékulu XXVI » Sékulu XXVII 2557 « 2558 « 2559 « 2560 » 2561 » 2562 » 2563
ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

Prem Tinsulanonda mak sai primi ministri ba Tailándia.
มีนักวิชาการและสื่อว่า พลเอกเปรมมีบทบาทในการเมืองไทย แม้รัฐบาลทหารหลังรัฐประหารปี พ.ศ. 2549 ปฏิเสธข่าวนี้

Pridi Banomyong mak sai primi ministri ba Tailándia.
2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย[2] เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 3 สมัย[3] และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง[4] และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย)[5]

Thawan Thamrongnawasawat mak sai primeiru-ministru ba Tailándia.
พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ หรือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง พ.ศ.

Plaek Phibunsongkhram mak sai primeiru-ministru ba Tailándia.
จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ[2] นายกองใหญ่ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย[3] มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน