Stupid Story
ผลงานจากเรื่อง Stupid Story


Weblinks
แหล่งข้อมูลอื่น

Werke
ผลงานที่ทำ

Anna Hollmann 2009
แอนนา ฮอโลมัมน์ ในปี 2009

Anna Hollmann (* 13. Januar 1983) ist eine deutsche Comiczeichnerin.
แอนนา ฮอโลมัมน์ (เกิด: 13 มกราคม ปี 1983)เป็นนักเขียนการ์ตูน[[ชาวเยอรมัน]]

Ihre Geschichte Stupid Story, die zunächst auf der Webcommunity von Animexx erschien und deren erste drei Kapitel bei Schwarzer Turm kommerziell veröffentlicht wurden, erscheint seit 2008 bei Tokyopop. Die Geschichte gewann 2008 und 2009 den deutschen Comicpreis Sondermann und 2009 den AnimaniA Award für den besten nationalen Manga. In dem Werk geht es um den Mädchenschwarm Alan, der sich in seinen neuen Mitschüler Yanik verliebt.
เธอได้สร้างผลงานเรื่อง Stupid Story เธอได้เป็นที่รู้จักใน Webcommunity ของ Animexx ต่ามาผลงานของเธอได้รับการตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Schwarzer Turm โดยได้ถูกตีพิมพ์ในปี 2008 และถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษโดยสำนักพิมพ์ Tokyopop ของสหรัฐอเมริกา ในปีเดี่ยวกัน และในปี 2009 เธอได้รับรางวัล Sondermann สาขา Domestic manga และรางวัลจาก AnimaniA ซึ่งเป็นรางวัลของนักเขียนการ์ตูนมังงะของเยอรมนี

One Sommerday (2005, im ersten Band von Manga-Mixx) Stupid Story (seit 2008, 3 Bände) King of Animexx (2010, im Animexx Manga-Mixx Special)
* Werke One Sommerday (2005) * Stupid Story (ตั้งแต่ปี 2008) * King of Animexx (2010)

Mangaka.de über Anna Hollmann
Anna Hollmann ที่ Mangaka.de

Normdaten (Person): LCCN: nb2007002946 | VIAF: 13408935 |
การควบคุมรายการหลักฐาน WorldCat VIAF: 13408935 LCCN: nb2007002946

Geschichte
ประวัติความเป็นมาของอาคาร

Fassade des Lohri-Hauses an der Neugasse 27, Zug, Schweiz
ฉากหน้าอาคารของบ้านทอง ลอห์รี่ เฮ้าส์-ตั้งอยู่ที่ถนน Neugasse 27 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

Das Lohri-Haus ist das älteste Goldschmiedehaus Europas, in dem noch heute Goldschmiede tätig sind. Die Liegenschaft befindet sich an der Neugasse 27 in Zug, Schweiz. Seit 1620 wird in diesem Haus das Goldschmiede-Handwerk ausgeübt.
บ้าน Lohri (ภาษาอังกฤษ: Lohri House ภาษาเยอรมัน: Lohri-Haus) คือบ้าน ช่างทองท่เี ก่าแก่ท่สี ุดในยุโรป ซ่งึ เป็นอาชีพค้าขายของรัฐซูกต้งั แต่อดีตและยังคง มีบทบาทสำคัญสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน อาคารนี้ต้งั อยู่ท่ถี นน Neugasse เลขที่ 27 รัฐ Zug ประเทศสวิตเซอร์แลนด ์ ต้งั แต่ปี ค.ศ.

Um 1806 wurden die oberen vier Stockwerke im damaligen Stil des Empires durch den Architekten Melchior Schellhammer neu erstellt. Das alte Gewölbe im Erdgeschoss stammt noch aus der Erbauungszeit der Neugasse um 1500.
1620 ฝีมือของช่างทองใน ประวัติศาสตร์ได้รับการฝึกฝนจากรุ่นสู่รุ่นในบ้านหลังนี้ ประมาณ 1806 ช้นั บนตึก ท้งั ส่ชี ้นั ถูกสร้างในรูปแบบสมัยจักรวรรดิโรมันถูกออกแบบโดยสถาปินกช่อื Melchior Schellhammer ซุ้มเพดานโค้งท่ชี ้นั ล่างยังคงสภาพเดิมนับต้งั แต่คร้งั ที่ ก่อสร้างถนน Neugasse เม่อื ราวปีคริสต์ศักราช 1500

1688 Pfarrer Johann Oswald Meyenberg verkauft das Haus seines verstorbenen Bruders Hans Kaspar Meyenberg für 1250 Gulden an Beat Thoman Stocklin. 1704 Der Kleinrat und Stabführer Karl Anton Letter aus einer Goldschmiedefamilie übernimmt das Haus aus dem Erbe seines Schwiegervaters Beat Thoman Stocklin. 1754 Plazid Anton Letter, Kleinrat, ist Besitzer der grosselterlichen Liegenschaft.
1620 เจ้าของคนแรกคือ โยฮัน จาคอป ไอ มูส (Johann Jakob I. Muos) มีอาชีพช่างทำทอง หนึ่งสมาชิกใหญ่สภาส่วน เขตการปกครองและทรัพย์สินของเมืองคาม (Cham) 1640 ต่อมาลูกชายของ โยฮัน จาคอป ไอ มูส ได้มาครอบครองบ้านหลังนี้ต่อจากพ่อ เขามีอาชีพช่างทำทองเช่น เดียวกันทั้งยังเป็นผู้ดูแลทรัพย์สมบัติและกัปตันประจำการต่างประเทศ 1688 บาทหลวง โยฮัน ออสวาล เมเยนเบอร์ก (The Reverend Johann Oswald Meyenberg)ไ ด้ขายบ้านหลังนี้ของพี่ ชาย (Hans Kaspar Mezenberg) ให้กับ บีท โทมัน สตอคกินส์ (Beat Thoman Stocklin) ในราคา 1,250 กลูเดน หรือปัจจุบันประมาณสามแสนสวิสฟรังค์ 1704 เจ้าของต่อจากนั้นคือทนายของสมาชิกสภาส่วนเขตการปกครองใหญ่นามว ่าคาล แอนทง แลทเทอร (Karl Anton Letter) หลังจากได้รับมรดกต่อจากพ่อบุญธรรม หรือนาย บีท โทมัน สตอคกินส์ (Beat Thoman Stocklin) 1754 พลาซิท แอนทง เลทเทอร์ (Plazid Anton Letter) อีกสมาชิกสภาส่วนเขตการปกครอง กลายเป็นเจ้าของใหม่ ของบ้านตาของเขา 1770 ฟรันซ์ มิคาแอล สปิลมัน (Franz Michael Spillmann) ประกอบอาชีพช่างเงิน เขามาจากครอบครัวที่มีชื่อเสียงทางด้านการทำทอง ได้ย้ายเข้ามาเป็นเจ้าของบ้านหลังนี้ต่อ 1805 ต่อมาลูกชายของเขา คาล อามาเด (Karl Amade) ช่างเงินคนสุดท้ายที่สำคัญประจำเมืองซูก ได้ครอบครองสถาปัตยกรรมการตกแต่งภายในแบบฉบับจักรวรรดิโรมันของอาคารทั้งสองแห่งบนถนน Neugasse 25/27 ข้างบนเพดานและซุ้มประตูโค้งด้านล่าง ถูกสร้างโดยช่างก่อสร้างมืออาชีพ Melchior Schnellhammer 1856 คาล โยเซฟ สปิลมัน (Karl Joseph Spillmann) ลูกชายอีกคนได้รับมรดกครึ่งหนึ่งจากพ่อคือบ้านหลัง Neugasse 27 เขาทำอาชีพช่างทอง ในขณะนั้นยังเป็นผู้บริหารด้านคนยากจนและเด็กกำพร้า และเป็นประธานบริหารสภาส่วนตำบล 1867 หลังจากนั้นบ้านทั้งสองหลังได้ถูกขายให้กับข้าราชการพลเรือนอาวุโสและผู้ดูแลสินเชื่อบ้าน นาย เกออก นุส เบาเมอร์เชล (Georg Nussbaumer-Schäll) จากเมืองโอเบอร์เอเกอริ (Oberägeri) และเขาได้ขายบ้าน Neugasse 25 ให้กับพี่สาวและน้องสาวของเขา 1885 ต่อมาญาติของเขาหลังจากการตรวจสอบผู้พิพากษาเขาได้รับความชอบธรรมในบ้านหลังนี้ Neugasse 27 เขาจึงโอนกรรมสิทธื์ให้ลูกชายของเขา โยเซฟ ไคเซ่อ (Joseph Kaiser im Hof) ที่มี อาชีพช่างเงินและช่างทองในขณะนั้น เพื่อใช้ในการค้าขายและอยู่อาศัย 1928 สืบด้วยลูกชายของเขา วอลเทอร์ ไคเซ่อ เข้ามาสานต่อกิจการของพ่อ ขณะนั้นเขาศึกษาอยู่ที่ The Schwäbisch Gmund School for the precious Metals Industry และฝึกการทำงานที่เมืองซูริค หลังจากนั้นเขาได้ไปทำงานที่คัวร์, เจนีวา, และปารีส 1952 ช่างทอง แมกซ์ บอสาท (Max Bossart) ได้เข้ามาต่อเนื่องศิลปะช่างทองหลังจากการเกษียณของโยเซฟ ไคเซ่อ (Joseph Kaiser im Hof) 1992 ฮันรือดิ วัสมัน (Hansruedi Wassmann) ได้ประจำการกิจการช่างทองต่อ 2016 Franz Lohri ได้เปิดกิจการช่างทองภายใต้ชื่อ The Lohri Chromometrie and Joaillerie

Deckenmalerei im Erdgeschoss des Lohri-Hauses
ภาพเขียนบนเพดานชั้นโถงด้านล่างของบ้านทอง ลอห์รี่

Auf dem alten Fassadenriss sind fünf Szenen aus der griechischen Mythologie zu sehen.
2559 ในกรรมสิทธิ์ของเจ้าของคนล่าสุด Lohri โดยตัวตึกได้รับการบูรณะใหม่ให้คงสภาพเดิมอย่างสมบูรณ์แบบทุกรายละเอียด ผสานกับการปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัยใหม่ภายใต้ภาพลักษณ์เดิม ในสถาปัตยกรรมแบบยุคจักรวรรดิโรมัน ดังเช่นในปีค.ศ. 1806 หรือราว ปีพ.ศ. 2349 ทั้งนี้อาคารได้รับการความร่วมกับองค์การพัฒนาและดูแลรักษาอนุสาวรีย์อาคารในเขตเทศบาลการจัดการงาน ก่อสร้างและจิตรกร ได้รับการคัดเลือกใช้เป็นแนวคิดสีเทาขาวแบบอนุรักษน์ ิยม ด้วยการใช้สีขาวหยาบกระด้าง บนแท่นของ วงกบหนา้ ต่างและการตกแต่งด้วยคอบัวพร้อมปะด้วยทองคำเปล วหนา้ ต่างร้านด้านหนา้ ถูกท้งิ ไว้ในโครงสร้างเก่าของรัฐในปีพ. ศ.

Diese als Reliefs ausgeführten Szenen wurden neu gestaltet und haben alle einen Bezug zu Gold:
2473 โดยมีลักษณะท่เี กยกันเล็กนอ้ ยเพ่อื ให้สร้างช่องมุขขนาดเล็ก เครื่องประดับทองสัมฤทธิ์ตกแต่งถูกสร้างขึ้นใหม่ตามรูปที่หลงเหลือจากอดีต ปีค.ศ. 1925 หรือ พ.ศ. 2468 เพื่อคงความสมบูรณ์ครบถ้วนของรายละเอียด เรื่องราวทั้งห้าของเทพปกรฌัม กรีกที่ล้วนเกี่ยวข้องกับทองคำได้ถูกซ่อมแซมให้ครบถ้วนและชัดเจนยิ่งขึ้น โดยสามารถสังเกตุเห็นได้บนฉากหน้าเก่าของอาคาร อาทิ • ห้องปฏิบัติการเครื่องทองของเทพเจ้าเฮฟเฟสตุส • เจสันและขนแกะทองคำ • เฮอร์คิวลีสขโมยแอปเปิ้ลทองคำทองจากสวนของเฮสเพอริดีส • ดานาย หญิงสาวผู้เลอโฉมกับละอองฝนทองคำ • คำตัดสินของปารีสในกรณีพิพาท “แอปเปิ้ลทองคำ” สาเหตุของมหาสงครามกรุงทรอย

Baugeschichte
ประวัติการสร้างอาคาร

Restaurierung und Instandstellung 2014–2016
ซ่อมแซมอาคารระหว่างปี 2014-2016

Das Haus Neugasse 27 wurde 1806 anstelle eines älteren Gebäudes erstellt, wobei das Ladengewölbe im Erdgeschoss belassen wurde.
บ้านช่างทอง Neugasse 27 ถูกสร้างข้นึ ในปีค.ศ. 1806 โดยช่างทองรุ่นบุกเบิก นามว่า คาล อมาเด สปิลมัน ในการร่วมมือกับช่างฝีมือผู้รับจ้างก่ออิฐ Melchior Schellhammer เข้าได้ถือกำเนิดในปี 1771 หรือ พ.ศ.

Das Haus wurde vom Goldschmied Karl Amade Spillmann errichtet.
2314 จากเมือง Baden- Württemberg เมืองทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเยอรมัน และได้เสียชีวิตใน Schattdorf หมู่บ้านแห่งหนึ่งในสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี 1842 หรือ พ.ศ. 2385 สถาปัตยกรรมแห่งนี้ได้เค้าโครงมาจาก Jägerring ของเมืองเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย บนฉากหนา้ และผิวอาคารยังคงได้รับการอนุรักษใ์ นคงอยู่ในสภาพเดิม สมบูรณดังเช่นเมื่อ 40 ปีก่อน พื้นผิวนอกอาคารแสดงลักษณะสถาปัตยกรรมของ โรมันโบราณ หรือเรียกว่า “สถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก” มีจุดเด่นคือความสมมาตรในการออกแบบตกแต่งด้วยความสมดุลย์ห้าทบผสมผสานกับองค์ ประกอบที่เรียบง่าย ในปี ค.ศ. 1887 หรือ พ.ศ.

Spillmann beauftragte den 1771 in Baden-Württemberg geborenen und 1842 in Schattdorf verstorbenen Maurer Melchior Schellhammer, ihm ein Haus nach dem Vorbild eines Gebäudes am Jägerring in Wien zu errichten.
2430 ทว่าในหลังจากนั้น บานหน้าต่างทั้ง สองทางด้านซ้ายของทางเข้า ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นช่องมุขในแบบ ฉบับยุคจักรวรรดิใหม่เพื่อใช้สำหรับการวางโชว์สินค้าหน้าร้าน ต่อมาช่างทอง Walter Kaiser 1927 ตัดสินใจเสนอแบบหน้าต่างร้านแบบอะนาล็อกที่ด้านขวาของทางเข้าร้านที่ขณะนี้มีหน้าจั่วไม่สมมาตร กระทั่งในปีค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ.

Der originale Planprospekt der Fassade ist noch erhalten.
2557 พื้นผิวเปลือกนอกของอาคารถูกทาด้วยสีเขียวอ่อนและประดับตกแต่งด้วยหินสี บริเวณห้องชั้นล่างฝั่งตะวันตกเปิดใช้เป็นกิจการค้าขายเรื่องประดับของครอบครัวช่างทอง หลังจากการปฎิสังขรณ์ใหม่บนพื้นชั้นล่างในช่วงในปีค.ศ. 1928 หรือ เมื่อปีพ.ศ. 2471 ในส่วนห้องนั่งเล่นชั้นบนบนผนังพบเศษกระดาษบุผนัง ที่หลงเหลือจากยุคคริสต์ศักราชที่19 จนถึงต้นคริสต์ศักราชที่20 นอกจากนั้นยังค้นพบภาพจิตรกรรมตกแต่งเฉพาะบางห้องทั้งยังมีชิ้นส่วนหินอ่อนบริเวณบานหน้าต่าง และชิ้นส่วนโบราณของกรอบกระจกหน้า ต่างพบว่าได้ถูกเปิดไว้บริเวณโถงกลางของชั้นสอง

Deckenmalerei und Leuchter im Lohri-Haus
การตกแต่งภายใน ภาพเขียนลายหินอ่อนบนเพดานและโคมไฟระย้า

Lohri-Haus
บ้านช่างทองลอห์รี่ เฮ้าส์

Geschichte
ประวัติศาสตร์ความเป็นมา

Siehe auch
ดูเพิ่มเติมที่

Literatur
วรรณกรรม

Weblinks
เว็บลิงค์

Schillers Wohnhaus in Weimar
บ้านชิลเลอร์ เมืองไวมาร์

Schillerhaus um 1900
บ้านชิลเลอร์ ในปี 1900

Schillers Arbeits- und Sterbezimmer (1853)
ห้องทำงานของชิลเลอร์และห้องที่เขาเสียชีวิต (ปี ค.ศ. 1853)

Schillers Arbeits- und Sterbezimmer (1963)
ห้องทำงานของชิลเลอร์และห้องที่เขาเสียชีวิต (ปี ค.ศ. 1963)

Schillers Wohnhaus mit dem dahinter gelegenen Schillermuseum im Jahr der Eröffnung des Museums (1988)
บ้านชิลเลอร์และพิพิธภัณฑ์ชิลเลอร์ ที่ตั้งอยู่ด้านหลังในปีที่เปิดพิพิธภัณฑ์ (ปี ค.ศ. 1988)

Dienerstube in Schillers Wohnhaus
ห้องคนรับใช้ในบ้านของชิลเลอร์

Das Schillerhaus Weimar (auch Schillers Wohnhaus genannt) ist ein von der Klassik Stiftung Weimar betriebenes Museum im früheren Wohnhaus von Friedrich Schiller (1759–1805) in Weimar.
บ้านชิลเลอร์ในเมืองไวมาร์ (หรือ อาคารที่พักอาศัยของชิลเลอร์) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่บริหารจัดการโดยมูลนิธิไวมาร์คลาสสิกซึ่งเคยเป็นบ้านเก่าของฟรีดริช ชิลเลอร์ (ปี ค.ศ. 1759–1805) ในเมืองไวมาร์

Seit 1998 gehört es als Teil des Ensembles „Klassisches Weimar“ zum UNESCO-Welterbe.
บ้านหลังนี้เป็นส่วนหนึ่งของ “เมืองไวมาร์คลาสสิก” ซึ่งเป็นมรดกโลกของยูเนสโก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998

Das Haus wurde ursprünglich für einen Kaufmann im Jahre 1777 durch Anton Georg Hauptmann (1735–1803) errichtet.
แต่เดิมบ้านหลังนี้สร้างขึ้นโดย อันโทน เกออร์ก เฮาพท์มันน์ (ปี ค.ศ.1735-1803) ให้กับพ่อค้าคนหนึ่งในปี ค.ศ.

Bereits vorhandene Nebengebäude wurden dabei als Hinterhaus integriert. Die Bezeichnung „Münze“ für diese älteren Nebengebäude geht darauf zurück, dass sich auf dem Grundstück des Schillerhauses eine „alte Münze“, eine fürstliche Münzprägestätte, befunden hat.
1777 อาคารข้างๆ ที่สร้างไว้แล้วถูกนำมาใช้ให้เป็นส่วนหลังของบ้าน คำว่า “โรงเหรียญ” ที่ใช้เรียกอาคารหลังเก่าข้างๆ กันนี้มาจากว่าบนที่ดินของบ้านชิลเลอร์เคยเป็น “โรงเหรียญเก่า” หรือโรงเหรียญกษาปณ์ของขุนนางมาก่อน

Das Schillerhaus befindet sich an der heutigen Schillerstraße 12, der ehemaligen „Esplanade“, die nach dem Rückbau der alten Weimarer Stadtbefestigung zwischen 1760 und 1765 entstand.
ปัจจุบันบ้านชิลเลอร์ตั้งอยู่เลขที่ 12 ถนนชิลเลอร์ หรือในอดีตคือถนนเอสพลานาดซึ่งสร้างขึ้นหลังการรื้อถอนป้อมปราการเก่าของเมืองไวมาร์ในระหว่างปี ค.ศ. 1760 และปี ค.ศ. 1765 ต่อมาในปี ค.ศ.

Im Jahre 1801 wurde das Haus vom englischen Schriftsteller und Übersetzer Charles Mellish of Blyth erworben, der es im März 1802 an Schiller verkaufte.
1801 ชาร์ลส เมลลิช ออฟ ไบลธ์ นักเขียนและนักแปลชาวอังกฤษได้ซื้อบ้านนี้ และในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1802 ได้ขายบ้านหลังนี้ให้กับชิลเลอร์ ชิลเลอร์และครอบครัวได้เข้ามาอาศัยเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.

Schiller und dessen Familie bezogen das Haus am 29. April 1802.
1802 ก่อนหน้านั้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ.

Zuvor hatte die am 3. Dezember 1799 von Jena nach Weimar gezogene Familie Schiller eine Mietwohnung in der Windischengasse bewohnt. In der 2. Etage und dem dazugemieteten Dachgeschoss fand Schiller jedoch nicht die nötige Arbeitsruhe, was seinen Wunsch nach eigenem Besitz verstärkte. So nutzte Schiller die sich bietende Möglichkeit und lieh sich das nötige Geld von 4200 Reichstaler zusammen.
1799 ครอบครัวชิลเลอร์ได้ย้ายจากเมืองเยนามายังเมืองไวมาร์และอาศัยในห้องเช่าในตรอกวินดิชเชน อย่างไรก็ตาม ชิลเลอร์เห็นว่าห้องเช่าบนชั้น 2 และห้องใต้หลังคาที่เช่ามาด้วยนั้นไม่เหมาะสำหรับทำงานอย่างสงบ ทำให้เขาต้องการมีที่ดินเป็นของตนเองเพิ่มขึ้น ดังนั้น ชิลเลอร์จึงคว้าโอกาสเมื่อมีผู้เสนอขายที่ดินนี้ และหยิบยืมเงินมา 4200 เหรียญทาเลอร์

Schiller ließ umfangreiche Renovierungsarbeiten durchführen, bei denen unter anderem das Treppenhaus aus dem Vorderhaus in den Bereich zwischen Vorderhaus und Hinterhaus verlegt wurde. Im ersten Obergeschoss wurden die Wohnräume der Familie und die Schlafräume von Schillers Frau Charlotte sowie der Töchter eingerichtet. In der zweiten Etage, der Mansarde, wurden Schillers Arbeits- und Wohnräume eingerichtet.
ชิลเลอร์ได้บูรณะบ้านครั้งใหญ่ ส่วนหนึ่งคือการย้ายบันไดของบ้านส่วนหน้า มาไว้ตรงกลางระหว่างบ้านส่วนหน้าและส่วนหลัง บนชั้น 2 เป็นห้องนั่งเล่นของครอบครัวและห้องนอนของชาร์ล็อตผู้เป็นภรรยา รวมถึงห้องนอนของลูกสาว ส่วนชั้นที่ 3 เป็นห้องใต้หลังคาได้ตกแต่งเป็นห้องทำงานและห้องนั่งเล่นของชิลเลอร์

Friedrich von Schiller verstarb am Abend des 9. Mai 1805 in seinem schuldenfreien Haus.
ฟรีดริช ฟอน ชิลเลอร์เสียชีวิตในตอนเย็นของวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ.

Charlotte blieb mit den vier Kindern weiterhin dort wohnen, wobei sie später, als die Kinder aus dem Haus gingen, auch einzelne Räume vermietete.
1805 ในบ้านที่เป็นกรรมสิทธิ์ของตนเอง ชาร์ล็อตยังคงอาศัยในบ้านหลังนั้นกับลูกอีก 4 คน จนกระทั่งเมื่อลูกๆ เริ่มออกไปอยู่นอกบ้าน จึงปล่อยห้องให้เช่า ชาร์ล็อตเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ.

Am 9. Juli 1826 starb Charlotte, und die Kinder verkauften das Haus im Jahre 1827 an den Gartenbauinspektor Johann Christoph Gottlob Weise, der es seiner Frau übertrug. Teile der Einrichtung wurden versteigert.
1826 ต่อมาในปี ค.ศ. 1827 ลูกๆได้ขายบ้านให้กับนักพฤกษศาสตร์ โยฮัน คริสตอฟ ก็อทโลบ ไวเซอ เขายกบ้านนี้ให้กับภรรยา และของตกแต่งบ้านบางส่วนได้ถูกนำมาขายทอดตลาด

Im Jahre 1847 wurde das Grundstück von den Erben der Eigentümerin Weise in einer gerichtlichen Versteigerung von der Stadt Weimar erworben. Die Stadt richtete in dem Gebäude eine Schiller-Gedenkstätte ein und versuchte, insbesondere Schillers Arbeits- und Sterbezimmer wieder authentisch einzurichten.
ในปี ค.ศ. 1847 ทางการเมืองไวมาร์ได้ประมูลที่ดินมรดกตกทอดของตระกูลไวเซอ ตามกฎหมาย และได้ก่อตั้งอนุสรณ์สถานของชิลเลอร์ไว้ภายในอาคาร นอกจากนั้นได้บูรณะ ห้องทำงานและห้องที่ชิลเลอร์เสียชีวิตให้เหมือนเดิมมากที่สุด ในช่วงหลายปีถัดมาได้มีการจัดให้บริเวณชั้น 1 เป็นร้านขายงานศิลปะเล็กๆ ที่เปิดถึงปี ค.ศ.

Im Erdgeschoss wurde in den folgenden Jahren eine kleine Kunsthandlung betrieben, die bis 1905 existierte.
1905 และในช่วงหลังปี ค.ศ.

Zeitweise wurden in der Zeit nach 1847 Räume des Vorder- und Hinterhauses von der Schillerstiftung und den Goethe- und Shakespeare-Gesellschaften genutzt sowie als Wohnräume vermietet.
1847 มูลนิธิชิลเลอร์ สมาคมเกอเธ่ และสมาคมเช็คสเปียร์ได้เช่าห้องที่อยู่ภายในอาคารด้านหน้าและด้านหลัง รวมถึงห้องนั่งเล่นด้วย